Page 53 - แผนการพลิกโฉม มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร ปีพุทธศักราช 2566 – 2570
P. 53
4) การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมด้วยอัตลักษณ์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมของจังหวัด
ก าแพงเพชร การน าสินค้าทางวัฒนธรรมเข้าสู่การตลาดเชิงพาณิชย์ และการเพิ่มมูลค่าสินค้าทางวัฒนธรรมด้วย
การสร้างเรื่องเล่า
5) การแก้ปัญหาหมอกควันจากการเผาผลผลิตทางการเกษตร (อ้อย,ข้าว)
ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชรได้จัดสรรงบประมาณตามแผนงานยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราช
ภัฏ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ในการสนับสนุนการด าเนินในประเด็นการใช้ประโยชน์จากสิ่งเหลือใช้ทาง
้
การเกษตร ข้าว ออย มันสาปะหลัง ปาล์ม และการแก้ปัญหาหมอกควันจากการเผาผลิตทางการเกษตร (ออย
้
,ข้าว) ไปแล้ว ส าหรับประเด็นที่เหลือจะขับเคลื่อนในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ต่อไป นอกจากนี้ยังได้ถ่ายทอด
องค์ความรู้และนวัตกรรมโดยการจัดนิทรรศการถ่ายทอดนวัตกรรมเพอการพัฒนาจังหวัดก าแพงเพชร ณ ศูนย์
ื่
ปฏิบัติการส่วนหน้าฯ ประกอบด้วย
1) นวัตกรรมการวางแผนพื้นที่ที่เหมาะสมในการปลูกพืชเกษตรจังหวัดก าแพงเพชร
2) นวัตกรรมการปลูกและแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรด้วยเกษตรอัจฉริยะ
3) นวัตกรรมการควบคุมระบบน้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ด้วยแอพพลิเคชั่น
4) นวัตกรรมการเพมมูลค่าผลผลิตข้าวด้วยระบบหมุนเวียนและใช้ประโยชน์จากสิ่งเหลือใช้ ได้แก่
ิ่
ผลิตภัณฑ์บ ารุงผิว face oil จากน้ ามันร าข้าว และเครื่องดื่มชาหมักคอมบูชาจากกากร าข้าวที่เหลือจากการบีบ
สกัดน้ ามัน ภายใต้ความร่วมมือแบบจตุรภาคี (Quadruple Helix)
ื่
5) นวัตกรรมการแปรรูปและพัฒนาผ้าฝ้ายจากเส้นใยกล้วยไข่เพอสร้างอัตลักษณ์ของจังหวัด
6) นวัตกรรมการแปรรูปและพัฒนาผ้าฝ้ายทอมือย้อมสีศิลาแลงเพื่อสร้างอัตลักษณของจังหวัด
์
นอกจากนี้เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการลักษณะการท างานแบบประสานประโยชน์ระหว่างหน่วยงาน
ั
มหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร ได้เสนอให้น าประเด็นความต้องการพฒนาจังหวัดก าแพงเพชรจ านวน 3
ั
ประเด็น บรรจุในกรอบการพฒนาจังหวัดก าแพงเพชร ภายใต้การขับเคลื่อนของคณะกรรมการขับเคลื่อนไทย
ไปด้วยกันระดับจังหวัด ประกอบด้วย
ั
ื่
1) การส่งเสริมการรวมกลุ่มเกษตรเพอผลิตและพฒนาผลผลิตทางการเกษตรมูลค่าสูงตามห่วงโซ่
คุณค่า การปลูกเกษตรปลอดภัย การแปรรูป การพัฒนาบรรจุภัณฑ์และการตลาดออนไลน์
2) การพัฒนาระบบการรับรองมาตรฐานผลผลิตและสินค้าทางการเกษตรปลอดภัยของจังหวัด
3) การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมด้วยอตลักษณ์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมของจังหวัด การน า
ั
สินค้าทางวัฒนธรรมเข้าสู่การตลาดเชิงพาณิชย์ และการเพิ่มมูลค่าสินค้าทางวัฒนธรรมด้วยการสร้างเรื่องเล่า
44