Page 13 - แผนการพลิกโฉม มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร ปีพุทธศักราช 2566 – 2570
P. 13
จากหลักสูตรที่มหาวิทยาลัยเปิดสอนรวมถึงศักยภาพและความเชี่ยวชาญของอาจารย์ในแต่ละ
ื้
หลักสูตร ตลอดจนจุดเน้นของการเป็นมหาวิทยาลัยเชิงพนที่ ท าให้สรุปความเชี่ยวชาญของหลักสูตรของ
มหาวิทยาลัยได้เป็น 3 กลุ่ม ดังนี้
กลุ่มที่ 1 กลุ่มหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมอาหารและผลิตภัณฑ์ชุมชน โดยขั้นตอนในการพฒนา
ั
นวัตกรรมและผลิตภัณฑ์ชุมชน ในเบื้องต้นต้องมีการวางแผนเชิงพนที่ ตลอดจนการน าเทคโนโลยีสารสนเทศ
ื้
เข้ามาประยุกต์ใช้ในการวางแผน หลักสูตรที่จะสนับสนุนในขั้นตอนนี้ได้ คือ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาเทคโนโลยีภูมิศาสตร์, สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์, สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ นอกจากการ
ื้
ื้
วางแผนเชิงพนที่แล้ว การสร้างความเข้าใจ การรวมกลุ่มประชากรเพอสร้างเข้มแข็งในพนที่ก็เป็นส่วนส าคัญ
ื่
ซึ่งหลักสูตรที่จะสนับสนุนในขั้นตอนนี้ คือ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการพฒนาสังคม และ
ั
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ต่อจากนั้นจะเป็นขั้นตอนกระบวนการผลิตและการแปรรูปด้วยนวัตกรรม
และเทคโนโลยี ตลลอดจนการออกแบบผลิตภัณฑ์ โดยหลักสูตรที่จะสนับสนุนในขั้นตอนนี้ ได้แก่ หลักสูตร
วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมและธุรกิจอาหาร, สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ (วิชาเอกเคมี, เคมี
อตสาหกรรม, วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม) หลักสูตรทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟา,
้
ุ
ิ
สาขาวิชาเทคโนโลยีพลังงาน และหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์และกราฟก
ส าหรับขั้นตอนสุดท้ายจะเกี่ยวกับการวางแผนการตลาด การบรรจุภัณฑ์ การขนส่ง และการประชาสัมพันธ์ ซึ่ง
หลักสูตรที่จะร่วมด าเนินการในขั้นตอนนี้ได้แก่ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ (วิชาเอก
การเงิน, การตลาด, การจัดการธุรกิจ, เทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล, การเป็นผู้ประกอบการ, การจัดการธุรกิจระหว่าง
ประเทศ) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา
ั
ภาษาองกฤษ, สาขาวิชาภาษาจีน, สาขาวิชาภาษาไทย หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์
และหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิจิตรศิลป์และประยุกต์ศิลป์
กลุ่มที่ 2 กลุ่มหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว ส าหรับจุดเน้นของการท่องงเที่ยว มหาวิทยาลัย
จะเน้นการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เพราะว่าในจังหวัดก าแพงเพชรและจังหวัดตาก มีมรดกทางวัฒนธรรมอยู่
ุ
มากมมายรวมถึงแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่งดงาม ตลอดจนความอดมสมบูรณ์ของทรัพยากรทาง
ธรรมชาติ โดยขั้นตอนแรกต้องท าการส ารวจ รวมถึงการจัดท าฐานข้อมูลเชิงวัฒนธรรม แหล่งทรัพยากรทาง
ธรรมชาติและออกแบบเส้นทางการท่องเที่ยว หลักสูตรที่จะสนับสนุนในขั้นตอนนี้ได้ คือ หลักสูตรวิทยาศาสตร
บัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีภูมิศาสตร์, สาขาวิชาวิทยาการคอมพวเตอร์, สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ิ
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม และหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ (วิชาเอกเคมี, เคมีอตสาหกรรม, วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม) เมื่อส ารวจ จัดท าฐานข้อมูล
ุ
และออกแบบเส้นทางการท่องเที่ยวแล้ว ขั้นตอนต่อไปจากแบบเส้นทางการท่องเที่ยว เราจะพบชุมชนและ
ิ่
แหล่งท่องเที่ยวที่อยู่ในแนวเส้นทางการท่องเที่ยวมหาวิทยาลัยจะเข้าไปร่วมกับชุมชนเหล่านั้นเพอที่จะเพม
ื่
11