Page 14 - แผนการพลิกโฉม มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร ปีพุทธศักราช 2566 – 2570
P. 14

มูลค่าให้กับการบริการ ผลิตภัณฑ์ และแหล่งท่องเที่ยว ซึ่งหลักสูตรที่เข้าไปสนับสนุนกิจกรรมของขั้นตอนนี้

               ได้แก่ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม,  สาขาวิชาภาษาอังกฤษ, สาขาวิชา

               ภาษาจีน, สาขาวิชาภาษาไทย หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ (วิชาเอกการเงิน, การตลาด

               , การจัดการธุรกิจ, เทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล, การเป็นผู้ประกอบการ, การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ) หลักสูตร
                                                                 ั
               บัญชีบัณฑิต หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการพฒนาสังคม หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต
               หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ และหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ส าหรับ

                                             ั
               ขั้นตอนสุดท้ายคือการประชาสัมพนธ์ การท าการตลาดแหล่งท่องเที่ยว ตลอดจนการสร้างเครือข่ายกับ
                                     ุ
               หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับอตสาหกรรมท่องเที่ยว โดยหลักสูตรที่จะสนับสนุนในขั้นตอนนี้คือ หลักสูตรนิเทศศา
               สตรบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ (วิชาเอกการเงิน,
               การตลาด, การจัดการธุรกิจ, เทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล, การเป็นผู้ประกอบการ, การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ)

               หลักสูตรบัญชีบัณฑิต หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม,  สาขาวิชา

                      ั
               ภาษาองกฤษ, สาขาวิชาภาษาจีน, สาขาวิชาภาษาไทย หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีศึกษา,
               สาขาวิชาสังคมศึกษา, สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศึกษา

                       กลุ่มที่ 3 กลุ่มหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและพฒนาครู จากการที่มหาวิทยาลัยราชภัฏ
                                                                      ั
                                              ั
               ก าแพงเพชรเป็นสถาบันผลิตและพฒนาครูมา 45 ปี มหาวิทยาลัยมีความเชี่ยวชาญในด้านนี้เป็นอย่างดี
                                                    ั
               ตลอดจนการผลิตและพฒนาครูยังเป็นพนธกิจหลักของมหาวิทยาลัยที่ด าเนินงานมาอย่างต่อเนื่อง
                                     ั
                                                          ั
               มหาวิทยาลัยมีแผนที่จะปรับกลไกการผลิตและพฒนาครู โดยองสมรรถนะเพอให้สอดคล้องกับหลักสูตร
                                                                                  ื่
                                                                      ิ
                                            ื้
                                                       ั
               แกนกลางของระดับการศึกษาขั้นพนฐาน และพฒนานักศึกษาของมหาวิทยาลัยให้เป็นบัณฑิตครูสมรรถนะสูง
                                                                              ั
               รวมถึงการตอบสนองบริบทของพนที่ หลักสูตรที่จะสนับสนุนการผลิตและพฒนาครู ได้แก่ หลักสูตรครุศาสตร
                                           ื้
               บัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย, สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป, สาขาวิชาคณิตศาสตร์, สาขาวิชา
                                                               ิ
               ภาษาองกฤษ, สาขาวิชาสังคมศึกษา, สาขาวิชาคอมพวเตอร์, สาขาวิชาพลศึกษา, สาขาวิชาภาษาไทย,
                      ั
               สาขาวิชาการประถมศึกษา, สาขาวิชาดนตรีศึกษา(วิชาเอกดนตรีไทย, ดนตรีสากล), สาขาวิชาเคมี, สาขาวิชา
                                                                                             ิ
               บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศึกษา, สาขาวิชาภาษาจีน, สาขาวิชาการศึกษา (วิชาเอกฟสิกส์, ชีววิทยา,
               อุตสาหกรรมศิลป์) , สาขาวิชาทัศนศิลป์และประยุกต์ศิลป์ศึกษา























                                                                                                                12
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19