Page 36 - แผนการพลิกโฉม มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร ปีพุทธศักราช 2566 – 2570
P. 36

เกณฑ์การประเมิน

                       0.00-1.50 การด าเนินงานต้องปรับปรุงเร่งด่วน
                       1.51-2.50 การด าเนินงานต้องปรับปรุง

                       2.51-3.50 การด าเนินงานระดับพอใช้

                       3.51-4.50 การด าเนินงานระดับดี
                       4.51-5.00 การด าเนินงานระดับดีมาก


               จุดเด่นด้านการประกันคุณภาพการศึกษา


                       ในช่วงปีการศึกษา  2551-2563  มหาวิทยาลัยมีหลักสูตร  จ านวน  51 หลักสูตร  (หลักสูตรระดับ

               ปริญญาตรี จ านวน  45 หลักสูตร  และระดับบัณฑิตศึกษา จ านวน  6 หลักสูตร) รับการตรวจประเมินคุณภาพ
               การศึกษาภายในระดับหลักสูตร  โดยผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในที่ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประเมินคุณภาพ

               การศึกษาภายในของ สกอ. คปภ. หรือมีความเชี่ยวชาญด้านการประกันคุณภาพการศึกษา มีผลการประเมินใน

               ระดับหลักสูตรโดยภาพรวมของแต่ละคณะที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง และทุกหลักสูตรได้มาตรฐานตามเกณฑ์
               มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2558

                        ในปีการศึกษา 2562-2563 มหาวิทยาลัยมีนโยบายให้หลักสูตรน าร่องมีการด าเนินงานตามเกณฑ์

               AUN-QA และประเมินคุณภาพโดยผู้ประเมินที่ขนทะเบียนของ ทปอ. ซึ่งประกอบไปด้วยหลักสูตร 1) ค.บ.การ
                                                       ึ้
               ประถมศึกษา  2) ค.บ.คณิตศาสตร์  3) ค.บ.วิทยาศาสตร์ทั่วไป  4) ศศ.บ.การท่องเที่ยวและการโรงแรม

                            ั
               5) ศศ.บ.การพฒนาสังคม  6) วท.บ.สาธารณสุขศาสตร์  7) บธ.บ.โลจิสติกส์ (มรภ.กพ.)  8) บธ.บ.โลจิสติกส์
               (มรภ.กพ.แม่สอด)  9) ค.บ.ภาษาองกฤษ  10) นศ.บ.นิเทศศาสตร์  11) วท.บ.ภูมิสารสนเทศศาสตร์  12)
                                             ั
               วท.บ.คณิตศาสตร์  13) วท.บ.เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์(มรภ.กพ.)  14) วท.บ.เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (มรภ.กพ.

               แม่สอด) ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของทุกหลักโดยส่วนใหญ่อยู่ในระดับ 2-3 คะแนน ซึ่งแสดงให้เห็น
               ว่าหลักสูตรได้มีการด าเนินการที่เกือบครบถ้วนตามเกณฑ์การประเมิน AUN-QA และมีบางเกณฑ์ย่อยที่ส่วน

               ใหญ่ได้ในระดับ 2  ซึ่งแสดงให้เห็นว่าหลักสูตรได้มีการด าเนินการที่เกือบครบถ้วนตามเกณฑ์การประเมิน
               AUN-QA และมีบางเกณฑ์ย่อยที่หลักสูตรได้คะแนนในระดับ 4 คะแนน ซึ่งเป็นเกณฑ์ย่อย ด้านการก าหนดผล

               การเรียนรู้ที่คาดหวัง (Expected Learning Outcomes) ด้านข้อก าหนดของหลักสูตร (Program

               Specification)  ด้านโครงสร้างและเนื้อหาของหลักสูตร (Programme Structure and Content) ด้าน
               วิธีการเรียนการสอน (Teaching and Learning Approach ) ด้านคุณภาพอาจารย์ (Academic Staff

               Quality ) ด้านคุณภาพผู้เรียนและการสนับสนุน (Student Quality and Support )  ซึ่งแสดงให้เห็นว่า

               หลักสูตรได้มีการด าเนินการตามเกณฑ์ย่อยที่ครบถ้วนตามเกณฑ์การประเมิน AUN-QA
                       ในระดับคณะ และมหาวิทยาลัย ในปีการศึกษา 2557-2561 มหาวิทยาลัยมีการประเมินคุณภาพ

                                                                        ุ
               การศึกษาตามเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอดมศึกษา สกอ. ซึ่งมีผลประเมินที่สูงขึ้น
               อย่างต่อเนื่อง ต่อมาในปีการศึกษา 2562-2563 มหาวิทยาลัยได้ประเมินคุณภาพการศึกษาตามเกณฑ์การ






                                                                                                               32
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41