Page 41 - แผนการพลิกโฉม มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร ปีพุทธศักราช 2566 – 2570
P. 41
ส่วนที่ 2 แผนการพลิกโฉมสถาบันอุดมศึกษา
2.1 จุดเน้น ทิศทาง และเป้าหมายตามสาขาความเชี่ยวชาญของสถาบันอุดมศึกษา
2.1.1 สาขาความเชี่ยวชาญที่มุ่งเน้น
จากข้อมูลศักยภาพและผลการด าเนินงานของมหาวิทยาลัย พบว่ามีความเชี่ยวชาญ
ั
ื้
และสมรรถนะที่สอดคล้องกับบริบทการพฒนาของพนที่ มีจ านวน 3 ประเด็นที่จะเป็นเป้าหมายของการพลิก
โฉมมหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชรให้เป็นมหาวิทยาลัยที่เป็นศูนย์กลางด้านองค์ความรู้ นวัตกรรม วิจัยและ
เป็นที่พงของประชาชนในเขตภาคเหนือตอนล่าง โดยก าหนดผลลัพธ์ส าคัญจากการพลิกโฉมมหาวิทยาลัย คือ
ึ่
ื้
การยกระดับสมรรถนะของก าลังคนในพนที่ และยกระดับเศรษฐกิจของชุมชน ทั้งนี้ความเชี่ยวชาญที่เป็นจุด
มุ่งเน้นประกอบด้วย
ื
ั
ื่
1) พฒนานวัตกรรมอาหารและผลิตภัณฑ์ชุมชนเพอยกระดับพชเศรษฐกิจจังหวัด
ก าแพงเพชร และจังหวัดตาก (กล้วยไข่ อ้อย มันส าปะหลัง ข้าว ปาล์มน้ ามัน)
สืบเนื่องจากต าแหน่งการพฒนาจังหวัด (Positioning) ได้ให้ความส าคัญกับประเด็น
ั
ื
ดังต่อไปนี้ (1) แหล่งผลิตและแปรรูปสินค้าเกษตรปลอดภัย (2) แหล่งผลิตพช พลังงานทดแทน และ (3) การ
ั
ท่องเที่ยวมรดกโลกและวิถีชุมชน โดยได้ก าหนดเป้าหมายการพฒนาคือ “แหล่งผลิต แปรรูปสินค้าเกษตร
ปลอดภัย ฐานผลิตพชพลังงานทดแทน เมืองท่องเที่ยว มรดกโลก ธรรมชาติและวิถีชุมชน สู่สังคมที่เข้มแข็ง”
ื
ในขณะที่ มหาวิทยาลัยมีความเชี่ยวชาญด้านหลักสูตรและศูนย์ความเป็นเลิศต่าง ๆ รวมถึงผลการวิจัยและ
นวัตกรรมที่จะสนับสนุนต าแหน่งการพฒนาจังหวัดดังกล่าว ตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) ทั้งต้นทาง ใน
ั
ั
ื้
ด้านการวางแผนพฒนาพนที่ การส่งเสริมการปลูกด้วยการเกษตรอจฉริยะ การบริหารจัดการกลุ่ม , กลางทาง
ั
ที่จะสนับสนุนกระบวนการผลิตและแปรรูปด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี รวมถึงปลายทางที่จะส่งเสริมการ
ั
ั
สร้างการรับรู้ การพฒนาบรรจุภัณฑ์ การตลาด การขนส่ง และการประชาสัมพนธ์ โดยมีผลผลิตปลายทาง
ได้แก่ นวัตกรรมอาหารและผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อเพิ่มมูลค่าเศรษฐกิจ
2) พัฒนาอัตลักษณ์พื้นถิ่นของชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมจังหวัด
ก าแพงเพชรและจังหวัดตากด้วยบริบทของพนที่จังหวัดก าแพงเพชรและจังหวัดตาก เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่
ื้
ส าคัญของประเทศ ต าแหน่งการพัฒนาจังหวัด(Positioning) รวมถึงเป้าหมายการพัฒนาจังหวัดข้างต้น จะเห็น
ื้
ื่
ั
ได้ว่าการดึงอตลักษณ์พนถิ่นของชุมชนออกมาเพอส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ในลักษณะของการ
ท่องเที่ยวชุมชนจะส่งเสริมให้ระบบเศรษฐกิจฐานรากของประเทศมีความยั่งยืน โดยที่ความเชี่ยวชาญของ
มหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร จะสามารถสนับสนุนการท่องเที่ยวชุมชนได้ตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value
Chain) เช่นเดียวกัน โดยในส่วนต้นทาง มหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชรมีฐานต้นทุนทางวัฒนธรรมของพื้นที่
ิ่
เพอจะเป็นพนฐานส าคัญในการสร้างอตลักษณ์ของจังหวัดได้ , กลางทางที่จะสนับสนุนการเพมมูลค่าให้กับ
ื้
ื่
ั
ื่
สินค้า บริการและแหล่งท่องเที่ยวชุมชน รวมถึงปลายทางที่จะส่งเสริมในเรื่องการตลาดเพอการท่องเที่ยวเชิง
37