Page 71 - แผนการพลิกโฉม มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร ปีพุทธศักราช 2566 – 2570
P. 71

การเงิน พัสดุ  บัญชีกองทุนลักษณะ 3 มิติ (3DGF) ระบบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ (E-PAR) ระบบ

               รายงานผลการปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติ ราชการ(E-SPR) ระบบบริหารความเสี่ยง (E-RMS) ระบบ
                           ื่
               สารสนเทศเพอการบริหารและการ ตัดสินใจ (MIS) ระบบบริหารงานบุคคล (E PERSONAL) TABIAN
               SYSTEM, ระบบ E-Library ระบบ E-Learning เป็นต้น

                       11.อาจารย์มีความรู้หลากหลาย และครอบคลุมในวิชาชีพครู  วิชาเอก และวิชาทั่วไป บุคลากรมี
                                                                                               ั
               ความรู้ ความสามารถและพร้อมในการให้บริการวิชาการจนเป็นที่ยอมรับของท้องถิ่น บุคลากรมีศกยภาพใน
               การลงพื้นที่ร่วมกับชุมชน


               จุดอ่อน (Weaknesses)

                       1. การจัดการศกษายังไม่ตอบสนองกับความต้องการของลูกค้ากลุ่มใหม่รวมถึง ผู้สูงอายุ และยังขาด
                                   ึ
               ท าการตลาดเชิงรุก

                       2. การบริหารงานวิจัยของมหาวิทยาลัยที่ท าให้เกิดการบูรณาการยังไม่ตอบสนองต่อความต้องการ
               ของแหล่งทุน

                       3. ระบบบริหารจัดการเพื่อสร้างรายได้ ของมหาวิทยาลัยยังไม่ชัดเจน

                       4. การจัดพัฒนาฐานข้อมูลพนฐานบริบทชุมชนเป้าหมายการพัฒนา  ฐานข้อมูลรายได้และฐานข้อมูล
                                              ื้
               ผลลัพธ์ผลกระทบที่เกิดกับชุมชนยังไม่สามารถน ามาใช้ในการตัดสินใจได้

                       5. การใช้ประโยชน์จากระบบเทคโนโลยี สารสนเทศยังไม่เชื่อมโยงอย่างทั่วถึง

                       6. มหาวิทยาลัยยังไม่สามารถสร้างรายได้เองอย่างเป็นรูปธรรม
               โอกาส (Opportunities)

                                                               ึ
                       1.นโยบายของประเทศและยุทธศาสตร์การอุดมศกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2563 -
               2570 ด้าน BCG เน้นการด าเนินการด้านสิ่งแวดล้อมและพลังงาน อาหารสุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุ และ

               เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ สอดคล้องกบยุทธศาสตร์เชิงรุกของมหาวิทยาลัย
                                             ั
                       2. การอยู่บนที่ตั้งที่เป็นแหล่งทรัพยากรที่มีความหลากหลายทางชีวภาพและวัฒนธรรม (Bio
               Diversity and Cultural Diversity) สอดคล้องกับนโยบายชาติด้าน BCG

                       3. การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสมบูรณ์ (มากกว่า 20%) สร้างโอกาสในการด าเนินงานด้านการเรียน
               การสอน วิจัยและนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้สูงอายุ

                       4. การพลิกโฉมทางด้านเทคโนโลยี (Technology Disruptive) ท าให้ปรับเปลี่ยนไปสู่มหาวิทยาลัย

               ดิจิทัล และสร้างโอกาสในการท าวิจัยและนวัตกรรมของมหาวิทยาลัย
                       5. ตลาดแรงงานมีความต้องการบุคลากรที่มีทักษะสูง รวมทั้งอุตสาหกรรม ในประเทศเปิดโอกาสใน

                                ื
               การสร้างความร่วมมอกับสถาบันการศึกษาในประเทศ
                       6.นโยบายรัฐที่เน้นการบูรณาการ กับหน่วยงานภายนอก เช่น หน่วยงาน ราชการ องค์กรต่างๆ หรือ
                                                       ื้
               ภาคเอกชน ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ซึ่งเออประโยชน์ในการท างานซึ่งกันและกัน





                                                                                                                62
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76